ฮาร์แวร์ หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัส และจับต้องได้ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 4 ส่วน ดังนี้
1. ส่วนประมวลผล 2. ส่วนความจำ 3. อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก 4. อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูลส่วนที่ 1 CPU เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ แปลข้อมูลดิบ และนำกับมาใช่ได้ประโยชน์
ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ ( Memory )จำแนกออกเป็น 3 ประเภท
1. หน่วยความจำหลัก
2. หน่วยความจำลอง
3. หน่วยเก็บข้อมูล
1. หน่วยความจำหลัก แบ่งได้
1.1 หน่วยความจำแบบ "แรม" RAM = Random Access Memory เป็นหน่วยที่ต้องการไฟฟ้าในการจัดเจ็บข้อมูลจนกว่าเราจะเปิดเครื่อง หรือเพื่อรักษาข้อมูล เป็นแบบลบเลือนได้
1. หน่วยความจำหลัก แบ่งได้
1.2 หน่วยความจำแบบ "รอม" ROM = Read only Memory เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมเกี่ยวกับคอม เป็บแบบความจำที่ไม่ลบเลือน เป็นข้อมูลถาวร
2. หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง เป็นหน่วยความจำที่ทำงานกับข้อมูล และโปรแกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำมีจำกัด หน่วยความจำสำรองจึงสามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ เช่น Herd Disk CD-Rom Floppy Disk
หน่วยความจำสำรอง เป็นหน่วยความจำที่ทำงานกับข้อมูล และโปรแกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำมีจำกัด หน่วยความจำสำรองจึงสามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ เช่น Herd Disk CD-Rom Floppy Disk
หน่วยความจำสำรอง ( Secondary Memory Unit )
หน่วยความจำสำรอง หรือ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลัก คือ
1. ใช้ในการเก็บข้อมูล หรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2. ใช้ในการการเก็บข้อมูลโปรแกรมไว้อย่งถาวร
3. ใช้เป็นสื่อในการสื่อสารผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งไปอีกเครื่อวงหนึ่ง
หน่วยความจำรองจะช่วนแก้ปัญหาการสวูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆ ที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลับประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูยหายจึงจำเป็นที่จะต้องมีความจำแบบสำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ ส่วนใหญ่จะใช้ในรูปแบบของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก หน่วยความจำสำรองถึงจะไม่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้โดยปรกติ
ส่วนที่แสดงผลข้อมูล ส่วนที่แสดงผลข้อมูล คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (monitor) เครื่องพิมพ์ ( printer ) เครื่องพิมพ์ภาพ ( Plotor ) และลำโพง (Speaker )
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจประกอบด้วยคนเพียงคนเดียว หรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ Edp. Monager
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน System lnaly
3. โปรแกรมเมอร์ Programmer
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ Comput Operation
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
1. ผู้จัดระบบ คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบงาน คือ ผู้ทำการศึกษาระบบงานเดิม หรืองานใหม่ และทำการวิเคราะห์
3.โปรแกรมเมอร์ คือ ผู้นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
4. วิศวกรระบบ คือ ผู้ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุงและดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
5. พนักงานปฎิบัติการ คือ ผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่หรือ ภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ แบ่งประเภทการจัดการระบบ 4 ระดับ
2. นักวิเคราะห์ระบบ
3. โปรแกรมเมอร์
4. ผู้ใช้ User
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น